เคล็ดลับบ้านเย็นประหยัดพลังงาน

เคล็ดลับบ้านเย็นประหยัดพลังงาน
เคล็ดลับบ้านเย็นประหยัดพลังงาน

เคล็ดลับบ้านเย็นประหยัดพลังงาน

เคล็ดลับบ้านเย็นประหยัดพลังงาน อากาศประเทศไทยของเราร้อนมากช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายน หันไปทางไหนก็มีแต่ความร้อนอยู่รายรอบตัว หลายคนจึงหันมาเปิดแอร์และไปเดินห้างสรรพสินค้าแทน แต่ปัญหาเหล่านั้นจะหมดไปเพราะเรามีเคล็ดลับในการทำ บ้าน ให้เย็นลงด้วยวิธีง่าย ๆ โดยไม่ต้องสิ้นเปลืองพลังงานและยังเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอีกด้วย  

เผยเคล็ดลับที่จะทำให้ บ้านของเรานั้นเย็นขึ้น

1. ทาสีบ้านโทนเย็น 

เป็นวิธีที่ง่ายที่สุดในการลดความลดความร้อนให้กับบ้าน บ้านเดี่ยว ก็คือการทาสีห้องด้วยสีโทนเย็นเช่น สีเขียวหรือสีฟ้า ซึ่งจะทำให้รู้สึกว่าอุณหภูมิในห้องเย็นลงได้ อีกทั้งการทาสีอ่อนๆ อย่างเช่นสีขาวและสีครีมก็จะสามารถสะท้อนแสงได้ดี และเป็นการช่วยประหยัดพลังงานไฟฟ้า ในขณะโทนสีน้ำตาลอ่อน สีของใบไม้ จะทำให้รู้สึกสบายและผ่อนคลายเหมือนได้อยู่ใกล้ชิดกับธรรมชาติตลอดเวลาอีกด้วย

2. ปลูกต้นไม้ 

การปลูกต้นไม้จะช่วยลดความร้อนเพิ่มออกซิเจนในอากาศถ้าหากเราปลูกต้นไม้ไว้รอบ ๆ บ้าน บ้านเดี่ยว จะช่วยให้ความร่มรื่น และเป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยเพิ่มแอร์ธรรมชาติได้ดีทีเดียว 

3. ถอดปลั๊กไฟเมื่อไม่ใช้งาน 

เป็นวิธีง่ายๆที่หลายคนมักมองข้ามเพราะเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิดมีการผลิตความร้อนออกมา หากเราเปิดเครื่องใช้ไฟฟ้าหลายๆอย่างพร้อมกัน เช่นโคมไฟ ตู้เย็น กระติกน้ำร้อนไฟฟ้าและโทรทัศน์ จะมีการเพิ่มการระบายความร้อนออกมามากขึ้น ดังนั้นควรถอดปลั๊กเครื่องใช้ไฟฟ้าออกขณะที่ไม่ใช้งานแล้ว 

4. ไม่ควรวางสิ่งของใกล้เครื่องปรับอากาศ 

เครื่องปรับอากาศจะทำงานหนักมากขึ้นเมื่อได้อยู่ใกล้อุปกรณ์ไฟฟ้าที่มีการระบายความร้อนสูงวางอยู่ใกล้ๆ และไม่เพียงแค่นั้นการเพิ่มความชื้นภายในอากาศเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ทำให้เครื่องปรับอากาศทำงานหนักขึ้นเช่นกัน ดังนั้นเราควรหลีกเลี่ยงการตากผ้าหรือภาชนะที่ใส่น้ำไว้ใกล้ๆเครื่องปรับอากาศ 

5. แสงไฟและแสงธรรมชาติ 

    สำหรับห้องที่ออกแบบเพื่อเน้นความโปร่งโล่งในเวลากลางวัน แต่พอถึงกลางคืนจะดูไม่สว่างเท่าที่ควร ทั้งๆที่ติดไฟแขวนบนฝ้าเพดานตั้งเยอะแล้ว เพราะเหตุนั้นหลอดไฟที่ติดอยู่บนเพดานอาจจะสูงจนเกินไป จึงทำให้ความสว่างลงมาไม่ถึงพื้น วิธีแก้ไขคือนำโคมไฟตั้งโต๊ะหรือโคมไฟตั้งพื้นเข้ามาช่วยเพิ่มความสว่าง และใช้วิธีดึงแสงธรรมชาติเข้ามาในบ้าน และการนำแผ่นโปร่งแสงสว่างมามุงหลังคาในส่วนที่ต้องการแสงสว่างในกลางวันเพื่อลดการใช้พลังงานไฟฟ้า 

6. อย่าบังทางลม 

ด้วยธรรมชาติของลมลมจะพัดเข้า บ้าน เมื่อมีทางให้ลมออกเท่านั้น ดังนั้นการวางตำแหน่งของเฟอร์นิเจอร์ในบ้านก็คือสิ่งที่สำคัญเช่นกัน เพราะการวางตำแหน่งเฟอร์นิเจอร์หากไปบังทิศทางลมก็จะทำให้ลมไม่สามารถพัดเข้ามาได้ ควรจะจัดเฟอร์นิเจอร์ให้ชิดผนังและไม่ขวางทางประตูหน้าต่าง 

7. หลังคาสีเขียว 

บ้านที่มีดาดฟ้าจะสะสมความร้อนได้ดีกว่าบ้าน บ้านหรู ที่ไม่มีดาดฟ้า ดังนั้นการทำสวนบนดาดฟ้าจะช่วยลดความร้อนสะสมได้ดียิ่งขึ้น พร้อมทั้งยังดูแลง่าย ทำให้การเพิ่มพื้นที่สีเขียวของคุณไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไปครับ

8. ทำกันสาดบังแดดข้างหน้าต่าง 

อุณหภูมิจากแดดที่เข้ามาสู่ภายในบ้านจะทำให้อากาศภายใน บ้าน ร้อนอบอ้าว ดังนั้นผ้าใบหรือกันสาดอาจจะช่วยลดอุณหภูมิได้ดีในช่วงที่อากาศร้อนมาก 

9. ปลูกไม้เลื้อย 

ปลูกต้นไม้รอบบ้านถ้ายังไม่ช่วยให้เย็นพอ การปลูกไม้เลื้อยบริเวณรอบๆบ้าน แนะนำให้ทำระเเนงไม้รอบๆบ้าน ไว้ให้ไม้เลื้อยขึ้นแทนการให้มันขึ้นเกาะกำแพงปูนเพราะจะทำให้ผนังเกิดความเสียหายได้ 

การที่จะทำให้บ้านเราเย็นสบายควรคำนึงถึงการประหยัดพลังงาน ด้วยวิธีธรรมชาติที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อลดอุณหภูมิภายในบ้าน และจัดเฟอร์นิเจอร์ให้ลมพัดเข้ามาภายในบ้านได้สะดวก บางส่วนของตัวบ้านอาจจะเพิ่มความสว่างในตัวบ้านและทำให้บ้านเย็นสบายน่าอยู่มากยิ่งขึ้น แบบผ้าม่าน

วัสดุก่อสร้างกันร้อน เพื่อทำให้บ้านเย็น

การก่อร่างสร้างบ้าน เป็นการลงทุนระยะยาว เพื่อให้บ้านเป็นที่อยู่อาศัยไว้สำหรับพักกาย พักใจ พักผ่อนอย่างมีความสุข แต่ด้วยสภาพอากาศที่ร้อนอบอ้าวเกือบตลอดปีในประเทศไทย หากบ้านไม่ได้ผ่านการออกแบบบ้านให้สอดรับกับธรรมชาติ ไม่วางแผนงานก่อสร้างให้ดี บ้านที่คาดหวังไว้ว่าจะเป็นสถานที่ที่ให้เป็นร่มเงา อาจกลายเป็นเตาอบดี ๆ

ได้เช่นกันครับ เนื้อหานี้ “น้องตี้ ภูเก็ตวิลล่า” พาไปรู้จักกับวัสดุก่อสร้างเพื่อบ้านเย็นที่หาซื้อได้ง่าย มีจำหน่ายตามร้านค้าวัสดุก่อสร้างและศูนย์จำหน่ายวัสดุก่อสร้างทั่วไป เพียงปรับเปลี่ยนเลือกใช้วัสดุตามคำแนะนำในเนื้อหานี้ รับประกันได้ว่า อุณหภูมิภายในบ้านของผู้อ่าน ย่อมลดลงกว่าบ้านทั่วไปอย่างแน่นนอนครับ Phuket Villas

บ้านร้อนเกิดจากอะไร

ต้นเหตุของบ้านร้อนส่วนหนึ่งเกิดขึ้นจากการออกแบบที่ไม่ได้คำนึงถึงสภาพภูมิอากาศ และอีกส่วนหนึ่งเกิดขึ้นจากการเลือกวัสดุที่ไม่เหมาะสม ไม่เอื้อต่อการป้องกันความร้อนเข้าสู่ตัวบ้าน บ้านที่ดีจึงต้องออกแบบให้อากาศภายในบ้านเกิดการถ่ายเท เพื่อสร้างกลไกการระบายความร้อนให้กับบ้าน พร้อมกับเลือกใช้วัสดุก่อสร้างที่ผลิตมาเพื่อป้องกันความร้อนเข้าสู่ตัวบ้านโดยเฉพาะ โดยในเนื้อหา ผู้เขียนคัดสรรมาให้ 5 จุดสำคัญ ดังนี้

  • หลังคาสะท้อนความร้อน วัสดุหลังคาที่ดีควรมีคุณสมบัติสะท้อนความร้อน ซึ่งการสะท้อนความร้อนของหลังคาบ้านแบ่งได้ 2 ส่วน ครับ ส่วนของวัสดุหลังคาหรือกระเบื้องหลังคาที่มีการเคลือบสีสะท้อนความร้อนมาให้ จะสามารถป้องกันแสงแดดได้ดีกว่ากระเบื้องหลังคาที่ไม่ได้ผ่านการเคลือบสี แต่หากวัสดุหลังคาที่ติดตั้ง ไม่มีคุณสมบัติสะท้อนความร้อนก็ไม่ต้องกังวลไปครับ ปัจจุบันมีแผ่นสะท้อนความร้อนติดตั้งใต้หลังคา แผ่นสะท้อนความร้อนเป็นเสมือนเกราะป้องกัน ช่วยลดความร้อนจากแสงแดด ลดการกระจายความร้อนเข้าสู่โถงหลังคา
  • โถงหลังคาสูง มีฉนวนกันร้อน รูปทรงหลังคาบ้านที่เหมาะสมในประเทศไทย ควรเป็นหลังคาที่มีโถงหลังคาสูงโปร่ง เพราะโถงหลังคาเปรียบเสมือนพื้นที่กักเก็บความร้อนก่อนกระจายเข้าสู่ภายในบ้าน ยิ่งมีโถงหลังคาใหญ่มากเท่าไหร่พื้นที่กักเก็บความร้อนจะยิ่งมากขึ้น แต่หากมีพื้นที่กักเก็บน้อย ความร้อนจะไหลผ่านเข้าภายในบ้านได้อย่างรวดเร็ว

    โดยปกติบ้านทั่วไปจะนิยมทำฝ้าเพดานเพื่อความสวยงาม นอกจากความสวยงามแล้ว ฝ้าเพดานยังเป็นส่วนป้องกันความร้อนจากโถงหลังคาได้อีกชั้นด้วยครับ และหากต้องการเพิ่มประสิทธิภาพที่ดียิ่งขึ้น ควรมีฉนวนกันความร้อนติดตั้งไว้บนฝ้าเพดาน จะช่วยเพิ่มศักยภาพในการกันร้อนได้อีกหลายเท่าตัว
  • ฝ้าชายคาระบายอากาศได้ มวลความร้อนที่สะสมใต้โถงหลังคาจำเป็นต้องมีทางออก เพื่อให้โถงหลังคามีอากาศใหม่เข้ามาถ่ายเทอยู่เสมอ มิเช่นนั้นหากความร้อนสะสมในปริมาณมากขึ้น จะค่อย ๆ ถ่ายเทเข้าสู่ภายในบ้าน และการถ่ายเทที่ดีควรออกแบบให้ถ่ายเทออกสู่นอกบ้าน บ้านจัดสรร ครับ ซึ่งหากพิจารณาองค์ประกอบของหลังคาแล้ว ส่วนที่เหมาะสมมากที่สุดคือ “ฝ้าชายคา” ฝ้าชายคาที่ดีควรเป็นฝ้าที่สามารถระบายอากาศได้ เพื่อให้มวลอากาศร้อนภายในโถงหลังคาได้ถ่ายเทออก และยังเป็นช่องลมเข้า ให้อากาศใหม่ได้มาแทนที่อากาศร้อนเดิม

    จุดที่ต้องระมัดระวังในการนำฝ้าชายคาที่มีรูระบายอากาศมาใช้ รูดังกล่าวไม่เพียงแค่เป็นช่องลมเท่านั้น แต่อาจจะเป็นช่องทางเข้าของสัตว์และแมลงต่าง ๆ ได้ จึงแนะนำให้หาตะแกรงมาติดทับไว้อีกชั้นครับ หรือเลือกใช้ฝ้าระบายอากาศที่มีตะแกรงป้องกันติดตั้งมาให้พร้อมใช้งาน เพิ่มความสะดวกให้กับงานติดตั้ง โครงการภูวิลล่า ภูเก็ต

    นอกจากหลังคาบ้านแล้ว ส่วนที่ได้รับแสงแดดรองลงมาเป็นส่วนผนังบ้าน โดยเฉพาะบ้านที่ไม่ได้ออกแบบให้มีชายคายื่นยาวจะยิ่งได้รับแสงแดดผ่านผนังบ้านมากเป็นพิเศษ สีทาผนังบ้านที่เหมาะกับบ้านเย็น ควรเลือกสีโทนอ่อนครับ เพราะสีโทนอ่อน เช่น สีขาว สีครีม หรือสีใด ๆ ที่มีความอ่อนใกล้เคียงสีขาว จะมีคุณสมบัติสะท้อนความร้อนได้ดีกว่าสีโทนเข้ม
  • สีทาผนังสะท้อนความร้อน ส่วนสีโทนเข้ม เช่น สีเทา ดำ หรือสีใด ๆ ที่มีความเข้มมืด จะมีคุณสมบัติดูดซับความร้อน หากผู้อ่านต้องการทาสีบ้านด้วยสีโทนเข้ม แนะนำให้เลือกซื้อผลิตภัณฑ์สีทาบ้าน บ้านจัดสรร ที่มีคุณสมบัติสะท้อนความร้อนได้ สีชนิดดังกล่าวจะมีส่วนผสมของเซรามิก มีความเกลี้ยงเรียบเนียนของผิวสีที่ดีกว่าสีทั่วไป จึงสามารถสะท้อนความร้อนได้ครับ ตัวอย่างผลิตภัณฑ์สีที่ได้รับฉลากเบอร์ 5 อาทิ สีเบเยอร์คูล, สี TOA ซุปเปอร์ชิลด์
  • ผนังบ้านเย็นด้วยอิฐมวลเบา การทำผนังบ้านเย็นในอดีต อาศัยการก่ออิฐมอญ 2 ชั้น แต่วิธีดังกล่าวส่งผลให้เกิดความล่าช้า ค่าแรงช่างมากขึ้น โครงสร้างบ้านรับน้ำหนักมากขึ้น ปัจจุบันเจ้าของบ้านจึงนิยมเลือกวัสดุอิฐมวลเบามาทดแทนอิฐมอญ ข้อดีของอิฐมวลเบาด้วยขนาดก้อนที่ใหญ่จึงสามารถก่อผนังได้อย่างรวดเร็ว ลดค่าแรงคนงานไปได้มาก ทั้งยังน้ำหนักเบากว่าอิฐมอญ ช่วยให้ลดต้นทุนค่าโครงสร้างไปได้ครับ

วัสดุต่าง ๆ ที่แนะนำในเนื้อหานี้ ไม่ได้แนะนำกันโดยไม่มีหลักฐานอ้างอิงนะครับ แต่ทุกวัสดุล้วนผ่านมาตรฐานการรับรองจากกระทรวงพลังงาน ได้รับฉลาก Energy Savivg เบอร์ 5 ความหมายของฉลากดังกล่าว คล้าย ๆ กับเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน ที่หากเครื่องไหนได้รับฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5 เครื่องนั้นจะประหยัดค่าไฟ วัสดุก่อสร้างก็เช่นกันครับ เมื่อสามารถช่วยให้อุณหภูมิภายในบ้านเย็นขึ้นได้ เครื่องปรับอากาศจะทำงานเบาลง ผู้อยู่อาศัยสบายกาย สบายใจ ไม่ต้องกังวลกับค่าไฟสิ้นเดือนอีกต่อไป ขอให้มีความสุขกับการใช้ชีวิตภายในบ้านเย็นกันนะครับ

วิธีทำให้บ้านเย็นช่วยประหยัดพลังงาน

ในช่วงนี้นั้นอากาศบ้านเรากำลังร้อนขึ้นเรื่อยๆ เรียกว่าร้อนแข่งกับสถานการณ์บ้านเมืองในตอนนี้เลย หลายคนจึงเลือกที่จะไม่ออกจากบ้าน หรือบางคนก็ต้อง ทำงานที่บ้าน หรือ Work From Home บ้านจึงเป็นพื้นที่ประจำที่ต้องอยู่แทบจะ 24 ชั่วโมง และด้วยความร้อนนี่แหละที่ทำให้อารมณ์ของหลายคนนั้นร้อนตาม ทริปเก็ตเตอร์เลยอยากมาเสนอ 10 วิธีทำให้บ้านเย็น แถมช่วยประหยัดพลังงานได้ด้วย เพื่อเป็นความรู้และไอเดียให้เพื่อนๆได้ลองทำตามกันดู จะได้อยู่บ้านแบบไม่ร้อนใจ สบายตัวกันไปยาวๆ ตลอดช่วงนี้

  • ติดกันสาด ติดกันสาด ด้านที่โดนแดดประจำ แนะนำให้ใช้วัสดุที่ไม่สะสมความร้อน เช่น ไม้ ที่ทำเป็นระแนงเพื่อตกแต่งหรือบังแดด
  • เปิดหน้าต่าง เปิดหน้าต่างบ้างในช่วงกลางวัน ให้อากาศและลมจากภายนอกพัดเข้ามาในตัว บ้าน
  • หาต้นไม้มาปลูกในบริเวณบ้าน หาต้นไม้มาปลูกในบริเวณบ้าน บ้านหรู หรือถ้าเป็นห้องในคอนโดก็ซื้อมาไว้ตรงระเบียง นอกจากความสดชื่นแล้ว ยังทำให้บรรยากาศภายในห้องดูดีขึ้นด้วย
  • เปิดประตูห้องน้ำและห้องนอน เปิดประตูห้องน้ำและห้องนอน ไว้เสมอ เป็นการทำให้อากาศภายใน ถ่ายเทได้ดีขึ้น
  • เปลี่ยนผ้าปูที่นอน เปลี่ยนผ้าปูที่นอน ถ้าเป็นสีทึบ ให้ใช้เป็นสีโทนสว่างแทน เพื่อให้ห้องดูโปร่งโล่งสบายขึ้น
  • ดื่มน้ำเย็นจากถังน้ำหรือโถน้ำ ดื่มน้ำเย็นจากถังน้ำหรือโถน้ำ ที่ใส่น้ำแข็ง แทนการเปิดปิดตู้เย็นบ่อยๆ เพื่อหยิบขวดน้ำ
  • ทำความสะอาดฟิลเตอร์แอร์
    ทำความสะอาดฟิลเตอร์แอร์ เป็นประจำ ช่วยให้เครื่องปรับอากาศไม่ทำงานหนักเกินไป
  • ใช้หลอดไฟ LED ใช้หลอดไฟ LED แทนหลอดไปธรรมดา ลดความร้อนจากแสงได้ แถมประหยัดพลังงาน
  • จัดวางให้เหมาะสม ไม่ควรนำเครื่องใช้ไฟฟ้าอื่นๆ มาตั้งหรือใช้ในบริเวณที่ติดตั้งเครื่องปรับอากาศ เพราะจะทำให้เครื่องปรับอากาศทำงานหนักขึ้น Phuket Villas
  • ใส่น้ำในกะละมังวางไว้กลางห้อง เป็นวิธีที่บอกต่อๆกันมาคือ ใส่น้ำในกะละมังวางไว้กลางห้อง สามารถลดอุณหภูมิภายในห้องได้

อ่านเพิ่มเติม จัดสวนญี่ปุ่นข้างบ้าน